เริ่มต้นกำเนิดกระบี่กระบองที่แท้จริงนั้นไม่ทราบแน่ชัด ว่าเริ่มต้น กันตั้งแต่ครั้งไหนและใครเป็นผู้คิดค้นขึ้น เพราะไม่สามารถค้นคว้าจากแหล่ง
ใดได้ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะท่านครูบาอาจารย์รุ่นเก่า ๆ ที่ได้เล่าเรียนและได้เคยสอนแต่ในทางปฏิบัติอย่างเดียวมิได้ห่วงใยที่จะสั่งสอน ในทางทฤษฎีเลย
ฉะนั้นศิษย์จึงขาดความรู้ในด้านนี้เสียสิ้น แต่ด้วยเหตุที่ไทย เราเป็นนักรบแต่โบราณกาล กระบี่กระบองซึ่งเป็นเกมของนักรบก็น่าจะได้ริเริ่มกัน เป็นเวลานาน
แล้วด้วยเหมือนกัน ท่านอาจารย์นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นผู้หนึ่งที่ได้เล่าเรียนวิชานี้มาตั้งแต่ยัง เป็นเด็กและเป็นผู้ที่รักใคร่ในศิลปะวิชานี้อยู่เสมอในโอกาสที่ท่านได้เป็นอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนพลศึกษากลาง ท่านก็ได้ทดลองสอนนักเรียนขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2478 ต่อมาจึงได้กำหนดวิชา กระบี่กระบองไว้ในหลักสูตรของประโยคครูผู้สอนพลศึกษา เมื่อปีพ.ศ.2479 นับแต่นั้นมา ได้มีผู้เล่าเรียนและสำเร็จมากขึ้นตามลำดับ บรรดาผู้ที่เล่าเรียนสำเร็จออกไปรับราชการเป็นครูสอนวิชาพลศึกษา ได้พยายามสอนวิชากระบี่กระบองไปเผยแพร่และเป็นที่สนใจของประชาชนชาวไทยเป็นอย่างมาก จนกระทั่งปัจจุบันนี้ได้บรรจุลงในหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียนทั่วไป จึงนับได้ว่า ศิลปะชิ้นนี้นอกจากจะไม่สูญหายไปจากโลกแล้วคงจะเจริญก้าวหน้าหรือแสดงถึง
ความเป็นเจ้าของในวิชาการแขนงนี้ได้ในอนาคต
สำหรับเครื่องกระบี่กระบองนั้นมี กระบี่ ดาบ ง้าว พลอง ดั้ง เขน โล่ และไม้สั้น ซึ่งจำลองมาจากอาวุธจริง ๆ ก็มี กระบี่ ดาบ ง้าวและพลองเท่านั้น
เครื่องอุปกรณ์ทั้งหมดนี้ นักกระบี่กระบองมักจะเรียกว่า "เครื่องไม้" แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. เครื่องไม้รำ
2. เครื่องไม้ตี

เครื่องไม้รำ ได้แก่ เครื่องกระบี่กระบองซึ่งจำลองมาจากอาวุธจริง แต่ไม่ค่อยจะเหมือนทีเดียว เพราะมุ่งไปในแง่ความสวยงามมากกว่าอย่างอื่น เมื่อเครื่องไม้นี้ประสงค์
จะเอาสวยงามเป็นใหญ่แล้วอาจจะแบบบางไม่แข็งแรง ผู้แสดงจึงต้องรำด้วยความระมัดระวังที่สุด ไม่ยอมให้กระทบกระแทกกับวัตถุอื่นใด ได้เลยเป็นอันขาดถ้าไม่
สามารถสร้างเครื่องไม้รำสำหรับอาวุธบางชนิดขึ้นได้แล้วตามปกติ เขามักจะนำอาวุธอันแท้จริงมารำแทน ซึ่งก็นับว่างดงามและเหมาะสมดีไม่น้อย

เครื่องไม้ตี ได้แก่ เครื่องกระบี่กระบองซึ่งจำลองมาจากอาวุธจริง เป็นเพียงดูพอรู้ว่าเป็นอะไรเท่านั้น จุดมุ่งหมายของการสร้าง คือ ต้องการให้เบา เหนียว และแข็งแรง
ไม่หักงอง่าย เพื่อจะได้ใช้ตีกันอย่างทนทาน ไม่สิ้นเปลืองและไม่เกิดอันตราย
ส่วนประกอบของกระบี่ ตัวกระบี่มักทำด้วยหวายเทศ เพราะมีน้ำหนักเบาและเหนียว หากหาไม่ได้มักจะใช้หวายโปร่งแทน ยาวประมาณ 1 เมตร โกร่งกระบี่มักทำด้วยหนังสัตว์มีไว้ป้องกันมือที่จับ
2. เสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและคุณลักษณะทางด้านจิตใจ
1.1 มีความแข็งแรง มีความทนทาน มีความคล่องแคล่วว่องไว
1.2 ช่วยให้ระบบประสาทและกล้ามเนื้อทำงานสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี
1.3 มีจิตใจกล้าหาญ อดทน หนักแน่น
1.4 มีอารมณ์สุขุมเยือกเย็น และเชื่อมั่นในตนเอง
1.5 มีการตัดสินใจที่ดี
3. เป็นการรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย
4. เป็นการสร้างความรู้สึกภาคภูมิใจในศิลปะประจำชาติ
เครื่องดนตรีประกอบการเล่นกระบี่กระบอง
o ปี่ชวา
o กลองแขกตัวผู้ (เสียงสูง)
o กลองแขกตัวเมีย (เสียงต่ำ)
o ฉิ่งจับจังหวะ

ชื่อไม้รำ 12 ไม้รำ
ไม้รำที่ 1 ลอยชาย ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
ไม้รำที่ 2 ควงทัดหู ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
ไม้รำที่ 3 เหน็บข้าง ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 4 ตั้งศอก ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
ไม้รำที่ 5 จ้วงหน้าจ้วงหลัง ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 6 ปกหน้าปกหลัง ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 7 ท่ายักษ์ ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 8 สอยดาว ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 9 ควงแตะ ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 10 หนุมานแหวกฟองน้ำ ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 11 ลดล่อ ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 12 เชิญเทียน ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
ขอบคุณแหล่งที่มาบทความ
http://www.wt.ac.th/~phonthong/kabee03.html
แบบทดสอบประวัติวิชากระบี่กระบอง
1. การเล่นกระบี่กระบองช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายด้านใดมากที่สุด
ก. ความแข็งแรง
ข. ความเร็ว
ค. กำลัง
ง. ความแคล่วคล่องว่องไว
2. กระบี่เป็นอาวุธที่สำคัญของการใดของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ
ก. ทหาร
ข. ตำรวจ
ค. นักกีฬา
ง. นักล่าสัตว์
3. กระบี่กระบองเป็นที่นิยมแพร่หลายของประชาชนในรัชกาลใดมากที่สุด
ก. รัชกาลที่ 2
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 4
ง. รัชกาลที่ 3
4. การเล่นกระบี่จะช่วยฝึกน้ำใจได้ดีเลิศอย่างไร
ก. ทำให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
ข. ทำให้มีความกล้าหาญ
ค. ทำให้มีความอดทน
ง. ทำให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. วิชากระบี่กระบองได้รับการบรรจุไว้ในหลักสูตรการเรียนในระดับใดเป็นครั้งแรก
ก. มัธยมศึกษาปีที่ 2
ข. อาชีวศึกษา
ค. ระดับประถมศึกษา
ง. ประโยคครูผู้สอนพลศึกษา
6. ข้อใด ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมหรือฝึกซ้อมกระบี่ในสมัยโบราณ
ก. ทำการรบได้ทุกโอกาส
ข. มีน้ำใจกล้าหาญเด็ดเดี่ยว
ค. ป้องกันอันตราย
ง. บำรุงร่างกายให้แข็งแกร่ง
7. การเล่นกระบี่กระบองแบบจำลองในสมัยโบราณมีวัตถุประสงค์อย่างไร
ก. เพื่อหาผู้ที่มีความสามารถ
ข. เพื่อเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ
ค. เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ง. เพื่อฝึกซ้อมและเตรียมตัวในยามสงบ
8. การเล่นกระบี่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติอย่างไร
ก. ช่วยสืบทอดมรดกอันสำคัญประจำชาติ
ข. ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
ค. ช่วยอนุรักษ์ศิลปะประจำชาติ
ง. ช่วยรักษาวัฒนธรรมอันดี
9. การเรียนกระบี่สามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
ก. ทำให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
ข. ทำให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
ค. การต่อสู้ในสงคราม
ง. ทำให้สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี
10. รัชกาลที่ 4 ได้โปรดให้มีการเล่นกระบี่กระบองในงานสมโภชใดเป็นครั้งแรก
ก. ทอดกฐิน
ข. งานโกนจุก
ค. งานบวชนาค
ง. ทอดผ้าป่า
ขอบคุณที่มาบทความ
http://www.wt.ac.th/~phonthong/kabee08.html
การถวายบังคม | |||||
เป็นการเคารพครูบาอาจารย์กระบี่กระบอง ซึ่งถือว่าเป็นวัฒนธรรมประเพณีมีความสำคัญเป็นพิเศษ เพราะถือว่า การเคารพครูเป็นสิริมงคล และทำให้ปลอดภัยจากการเล่น | |||||
หรือการแสดงในครั้งนั้น ๆ ด้วย | |||||
ท่าถวายบังคม (สำหรับพรหมนั่ง) |
|||||
![]() 1 2 3 |
|
||||
![]() 4 5 6 |
|
||||
|
![]() 7 8 9 |
การขึ้นพรหม | |||||
การขึ้นพรหม เป็นขนบธรรมเนียมอีอย่างหนึ่งของกระบี่กระบอง เพื่อให้มีคุณธรรมประจำใจคือ พรหมวิหารสี่ อันเป็นคุณธรรมอันประเสริฐ เป็นธรรมะที่ขจัดความพาล | |||||
ไม่นำเอาวิชากระบี่กระบองไปใช้ในทางที่ผิด เป็นผู้ที่เปี่ยมด้วย เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ด้วยเหตุที่พรหมมี 4 หน้า หน้าหนึ่ง ๆ หมายถึงคุณธรรมอย่างหนึ่ง ดังนั้น | |||||
การขึ้นพรหมต้องรำให้ครบ 4 ทิศ และในการขึ้นพรหมของกระบี่กระบองนั้นมี 2 อย่างคือ | |||||
1. การขึ้นพรหมนั่ง 2. การขึ้นพรหมยืน |
การขึ้นพรหมนั่ง | |||||
![]() 1 2 3 |
|
||||
|
![]() 4 5 6 |
||||
![]() 7 8 9 |
|
||||
|
![]() 10 11 12 |
||||
![]() 13 14 15 |
|
||||
|
![]() 16 17 18 |
||||
![]() 19 20 21 |
|
การขึ้นพรหมยืน | |||||
ในท่าถวายบังคม วางกระบี่ให้ชี้ปลายไปข้างหน้า ห่างจากเข่า 1 คืบ | |||||
![]() 1 2 3 |
|
||||
|
![]() 4 5 6 7 |
||||
![]() 8 9 10 11 |
|
||||
|
![]() 12 13 14 15 |
||||
![]() |
|
||||
|
![]() 21 22 23 24 |
||||
![]() 25 26 |
|
ไม้รำที่ 1 ลอยชาย (เดินสลับฟันปลา) | |||||
|
|||||
|
![]() |
||||
![]() |
|
||||
|
![]() |
||||
![]() |
|
ไม้รำที่ 2 ควงทัดหู ( เดินสลับฟันปลา ) |
|||||
|
![]() |
||||
![]() |
|
||||
|
![]() |
ไม้รำที่ 3 เหน็บข้าง ( เดินตรง ) | |||||
ท่าคุมรำ |
|||||
|
![]() |
||||
2
![]() |
|
||||
|
4
![]() |
||||
7![]() |
|
||||
|
9
![]() |
ไม้รำที่ 4 ตั้งศอก ( เดินสลับฟันปลา ) | |||||
|
![]() 1 2 |
||||
![]() 3 4 |
|
||||
|
![]() 5 6 |
||||
![]() 7 8 |
|
ไม้รำที่ 5 จ้วงหน้าจ้วงหลัง ( เดินตรง ) |
|||||
|
![]() 1 2 |
||||
![]() 3 4 |
|
||||
|
![]() 5 6 7 |
||||
![]() 8 9 |
|
||||
|
![]() 10 11 12 |
||||
![]() 13 14 15 |
|
||||
|
![]() 16 |
ไม้รำที่ 6 ปกหน้าปกหลัง หรือควงป้องหน้า ( เดินตรง ) | |||||
|
![]() 1 2 |
||||
![]() 3 4 |
|
||||
|
![]() 5 6 |
||||
![]() 7 8 |
|
||||
![]() 9 10 11 |
|
ขอบคุณที่มาบทความ
http://www.wt.ac.th/~phonthong/kabee08.html
ไม้ตีที่ 1 | |||||
ท่าคุมตีลูกไม้ |
|||||
|
![]() |
||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 |
|||||
ฝ่ายรับ![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 |
|||||
|
ฝ่ายรับ
![]() |
ไม้ตีที่ 2 | |||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 | |||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 3 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 4 |
|||||
|
![]() |
ไม้ตีที่ 3 | |||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 3 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 4 |
|||||
|
![]() |
ไม้ตีที่ 4 | |||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 | |||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 3 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 4 |
|||||
|
![]() |
ไม้ตีที่ 5 | |||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 3 | |||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 4 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 5 |
|||||
![]() |
|
ไม้ตีที่ 6 | |||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 3 | |||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 4 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 5 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 6 |
|||||
|
![]() |
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
|
|||||
![]() |
|||||
รายการที่ 1 วิ่ง 50 เมตร | |||||
เมื่อให้สัญญาณเข้าที่ ให้นักเรียนยืนให้ปลายเท้าข้างหนึ่งอยู่ชิดเส้นเริ่ม เมื่อได้ยินสัญญาณ ปล่อยตัว ให้วิ่งด้วยความเร็วเต็มที่จนผ่านเส้นชัย | |||||
![]() |
|||||
รายการที่ 2 วิ่งเก็บของ | |||||
วางไม้ทั้งสองท่อนกลางวงกลมที่อยู่ตรงข้ามกับเส้นเริ่ม นักเรียนยืนให้ปลายเท้าข้างหนึ่งอยู่ชิดเส้นเริ่ม เมื่อได้รับคำสั่งว่า ไป ให้นักเรียนวิ่งไปหยิบท่อนไม้ ท่อนหนึ่ง มาวางที่วงกลมหลังเส้นเริ่ม แล้วกลับตัววิ่งไปหยิบท่อนไม้อีกท่อนหนึ่งมาวางไว้เช่นเดียวกับท่อนแรกแล้ววิ่งเลยไป ห้ามโยนท่อนไม้ หากวางไม่เข้า ในวงกลม ให้เริ่มใหม่ |
|||||
![]() |
|||||
รายการที่ 3 ยืนกระโดดไกล | |||||
นักเรียนยืนที่เส้นเริ่มให้ปลายเท้าทั้งสองอยู่ชิดเส้นเริ่ม เหวี่ยงแขนทั้งสองไปข้างหลังพร้อมกับย่อเข่าและก้มตัว เมื่อได้จังหวะให้เหวี่ยงแขนไปข้างอย่างแรง พร้อมกับ กระโดดด้วยเท้าทั้งสองข้างไปข้างหน้าให้ไกลที่สุด ใช้ไม้วัดทาบตั้งฉากกับขีดบอกระยะ หากมีการเสียหลักหงายหลังหรือมือแตะพื้นให้ทำใหม่ |
|||||
![]() |
|||||
รายการที่ 4 แรงบีบมือ | |||||
นักเรียนใช้มือข้างที่ถนัดจับเครื่องวัดแรงบีบมือโดยให้นิ้วข้อที่ 2 รับน้ำหนักของเครื่องวัด ยืนปล่อยแขนข้างลำตัว ห่างลำตัวเล็กน้อย แขนตึงกำมือบีบเครื่องวัด สุดแรงโดยไม่ให้เครื่องวัดถูกส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ห้ามโถมตัวหรือเหวี่ยงเครื่องมือ |
|||||
![]() |
|||||
รายการที่ 5 ลุกนั่ง | |||||
จัดนักเรียนเป็นคู่ ให้นักเรียนคนแรกนอนหงายบนเบาะยืดหยุ่น เข่างอเป็นมุมฉาก ปลายเท้าแยกห่างกัน ประสานมือที่ท้ายทอย นักเรียนคนที่สองคุกเข่าที่ปลายเท้า คนแรก มือทั้งสองกำและกดข้อเท้านักเรียนคนแรกไว้ให้เท้าติดพื้น เมื่อได้รับสัญญาณเริ่มพร้อมกับจับเวลา นักเรียนลุกขึ้นนั่งให้ข้อศอกแตะเข่าตนเองแล้วกลับลุก ขึ้นนั่งใหม่ ทำเช่นนี้ติดต่อไปอย่างรวดเร็วจนครบ 30 วินาที จากนั้นจึงสลับกันปฏิบัติเช่นเดียวกัน |
|||||
จากนั้นจึงบันทึกข้อมูลทุกรายการไว้เพื่อเปรียบเทียบกับการทดสอบครั้งต่อไป |
|||||
ขอบคุณที่มาบทความ
http://www.wt.ac.th/~phonthong/kabee.html
คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1.การเล่นกระบี่กระบองช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายด้านใดมากที่สุด
ก. ความแข็งแรง
ข. ความเร็ว
ค. กำลัง
ง. ความแคล่วคล่องว่องไว
2. กระบี่เป็นอาวุธที่สำคัญของการใดของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ
ก. ทหาร
ข. ตำรวจ
ค. นักกีฬา
ง. นักล่าสัตว์
- การเล่นกระบี่จะช่วยฝึกน้ำใจได้ดีเลิศอย่างไร
ข. ทำให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
ค. ทำให้มีความกล้าหาญ
ง. ทำให้มีความอดทน
จ. ทำให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
3. ข้อใด ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมหรือฝึกซ้อมกระบี่ในสมัยโบราณ
ก. ทำการรบได้ทุกโอกาส
ข. มีน้ำใจกล้าหาญเด็ดเดี่ยว
ค. ป้องกันอันตราย
ง. บำรุงร่างกายให้แข็งแกร่ง
4. การเล่นกระบี่กระบองแบบจำลองในสมัยโบราณมีวัตถุประสงค์อย่างไร
ก. เพื่อหาผู้ที่มีความสามารถ
ข. เพื่อเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ
ค. เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ง. เพื่อฝึกซ้อมและเตรียมตัวในยามสงบ
5. การเล่นกระบี่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติอย่างไร
ก. ช่วยสืบทอดมรดกอันสำคัญประจำชาติ
ข. ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
ค. ช่วยอนุรักษ์ศิลปะประจำชาติ
ง. ช่วยรักษาวัฒนธรรมอันดี
6. การเรียนกระบี่สามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
ก. ทำให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
ข. ทำให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
ค. การต่อสู้ในสงคราม
ง. ทำให้สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี
7. การท่าคุมรำ มือซ้ายจีบอยู่ระดับส่วนใด
ก. คิ้ว
ข. อก
ค. สะดือ
ง. ไหล่
8. กระบี่กระบองเป็นที่นิยมแพร่หลายของประชาชนในรัชกาลใดมากที่สุด
ก. รัชกาลที่ 2
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 4
ง. รัชกาลที่ 3
9.กระบี่กระบองเป็นที่นิยมแพร่หลายของประชาชนในรัชกาลใดมากที่สุด
ก. รัชกาลที่ 2
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 4
ง. รัชกาลที่ 3
10. การฝึกอบรมหรือฝึกซ้อมกระบี่ในสมัยโบราณเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงดุจอะไร
ก. กระดูกเป็นเหล็ก ใจเป็นทองแดง หนังเป็นเพชร
ข. กระดูกเป็นเพชร ใจเป็นเหล็ก หนังเป็นทองแดง
ค. กระดูกเป็นทองแดง ใจเป็นเพชร หนังเป็นเหล็ก
ง. กระดูกเป็นเหล็ก ใจเป็นเพชร หนังเป็นทองแดง
ได้ความรู้มากมายค่ะ
ดีใจมากเลยค่ะที่ได้เรียนวิชานี้
บอกตรง ...ดีจุงเบย
เจ๋งมากเลยค่ะไห้สาระต่างๆหนูชอบมากเลยค่ะ ขอบคุณน่ะค่ะ
เจ๋งมากเลยค่ะไห้สาระต่างๆหนูชอบมากเลยค่ะ ขอบคุณน่ะค่ะ
ได้ความรู้ มีสุขภาพร่างกายเเข็งเเรง
ดีมากและมีสาระน่ารู้ต่างๆที่เรายังไม่รู้จัก
สนุก สาระดี ได้ความรู้มากมาย
หาความรู้มากมายดีมากๆ
สาระดีเหมาะกับการค้นคว้า