เริ่มต้นกำเนิดกระบี่กระบองที่แท้จริงนั้นไม่ทราบแน่ชัด ว่าเริ่มต้น กันตั้งแต่ครั้งไหนและใครเป็นผู้คิดค้นขึ้น เพราะไม่สามารถค้นคว้าจากแหล่ง
ใดได้ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะท่านครูบาอาจารย์รุ่นเก่า ๆ ที่ได้เล่าเรียนและได้เคยสอนแต่ในทางปฏิบัติอย่างเดียวมิได้ห่วงใยที่จะสั่งสอน ในทางทฤษฎีเลย
ฉะนั้นศิษย์จึงขาดความรู้ในด้านนี้เสียสิ้น แต่ด้วยเหตุที่ไทย เราเป็นนักรบแต่โบราณกาล กระบี่กระบองซึ่งเป็นเกมของนักรบก็น่าจะได้ริเริ่มกัน เป็นเวลานาน
แล้วด้วยเหมือนกัน ท่านอาจารย์นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นผู้หนึ่งที่ได้เล่าเรียนวิชานี้มาตั้งแต่ยัง เป็นเด็กและเป็นผู้ที่รักใคร่ในศิลปะวิชานี้อยู่เสมอในโอกาสที่ท่านได้เป็นอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนพลศึกษากลาง ท่านก็ได้ทดลองสอนนักเรียนขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2478 ต่อมาจึงได้กำหนดวิชา กระบี่กระบองไว้ในหลักสูตรของประโยคครูผู้สอนพลศึกษา เมื่อปีพ.ศ.2479 นับแต่นั้นมา ได้มีผู้เล่าเรียนและสำเร็จมากขึ้นตามลำดับ บรรดาผู้ที่เล่าเรียนสำเร็จออกไปรับราชการเป็นครูสอนวิชาพลศึกษา ได้พยายามสอนวิชากระบี่กระบองไปเผยแพร่และเป็นที่สนใจของประชาชนชาวไทยเป็นอย่างมาก จนกระทั่งปัจจุบันนี้ได้บรรจุลงในหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียนทั่วไป จึงนับได้ว่า ศิลปะชิ้นนี้นอกจากจะไม่สูญหายไปจากโลกแล้วคงจะเจริญก้าวหน้าหรือแสดงถึง
ความเป็นเจ้าของในวิชาการแขนงนี้ได้ในอนาคต
สำหรับเครื่องกระบี่กระบองนั้นมี กระบี่ ดาบ ง้าว พลอง ดั้ง เขน โล่ และไม้สั้น ซึ่งจำลองมาจากอาวุธจริง ๆ ก็มี กระบี่ ดาบ ง้าวและพลองเท่านั้น
เครื่องอุปกรณ์ทั้งหมดนี้ นักกระบี่กระบองมักจะเรียกว่า "เครื่องไม้" แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. เครื่องไม้รำ
2. เครื่องไม้ตี

เครื่องไม้รำ ได้แก่ เครื่องกระบี่กระบองซึ่งจำลองมาจากอาวุธจริง แต่ไม่ค่อยจะเหมือนทีเดียว เพราะมุ่งไปในแง่ความสวยงามมากกว่าอย่างอื่น เมื่อเครื่องไม้นี้ประสงค์
จะเอาสวยงามเป็นใหญ่แล้วอาจจะแบบบางไม่แข็งแรง ผู้แสดงจึงต้องรำด้วยความระมัดระวังที่สุด ไม่ยอมให้กระทบกระแทกกับวัตถุอื่นใด ได้เลยเป็นอันขาดถ้าไม่
สามารถสร้างเครื่องไม้รำสำหรับอาวุธบางชนิดขึ้นได้แล้วตามปกติ เขามักจะนำอาวุธอันแท้จริงมารำแทน ซึ่งก็นับว่างดงามและเหมาะสมดีไม่น้อย

เครื่องไม้ตี ได้แก่ เครื่องกระบี่กระบองซึ่งจำลองมาจากอาวุธจริง เป็นเพียงดูพอรู้ว่าเป็นอะไรเท่านั้น จุดมุ่งหมายของการสร้าง คือ ต้องการให้เบา เหนียว และแข็งแรง
ไม่หักงอง่าย เพื่อจะได้ใช้ตีกันอย่างทนทาน ไม่สิ้นเปลืองและไม่เกิดอันตราย
ส่วนประกอบของกระบี่ ตัวกระบี่มักทำด้วยหวายเทศ เพราะมีน้ำหนักเบาและเหนียว หากหาไม่ได้มักจะใช้หวายโปร่งแทน ยาวประมาณ 1 เมตร โกร่งกระบี่มักทำด้วยหนังสัตว์มีไว้ป้องกันมือที่จับ
2. เสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและคุณลักษณะทางด้านจิตใจ
1.1 มีความแข็งแรง มีความทนทาน มีความคล่องแคล่วว่องไว
1.2 ช่วยให้ระบบประสาทและกล้ามเนื้อทำงานสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี
1.3 มีจิตใจกล้าหาญ อดทน หนักแน่น
1.4 มีอารมณ์สุขุมเยือกเย็น และเชื่อมั่นในตนเอง
1.5 มีการตัดสินใจที่ดี
3. เป็นการรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย
4. เป็นการสร้างความรู้สึกภาคภูมิใจในศิลปะประจำชาติ
เครื่องดนตรีประกอบการเล่นกระบี่กระบอง
o ปี่ชวา
o กลองแขกตัวผู้ (เสียงสูง)
o กลองแขกตัวเมีย (เสียงต่ำ)
o ฉิ่งจับจังหวะ

ชื่อไม้รำ 12 ไม้รำ
ไม้รำที่ 1 ลอยชาย ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
ไม้รำที่ 2 ควงทัดหู ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
ไม้รำที่ 3 เหน็บข้าง ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 4 ตั้งศอก ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
ไม้รำที่ 5 จ้วงหน้าจ้วงหลัง ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 6 ปกหน้าปกหลัง ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 7 ท่ายักษ์ ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 8 สอยดาว ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 9 ควงแตะ ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 10 หนุมานแหวกฟองน้ำ ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 11 ลดล่อ ลักษณะการเดิน เดินแบบเดินตรง
ไม้รำที่ 12 เชิญเทียน ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
ขอบคุณแหล่งที่มาบทความ
http://www.wt.ac.th/~phonthong/kabee03.html
แบบทดสอบประวัติวิชากระบี่กระบอง
1. การเล่นกระบี่กระบองช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายด้านใดมากที่สุด
ก. ความแข็งแรง
ข. ความเร็ว
ค. กำลัง
ง. ความแคล่วคล่องว่องไว
2. กระบี่เป็นอาวุธที่สำคัญของการใดของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ
ก. ทหาร
ข. ตำรวจ
ค. นักกีฬา
ง. นักล่าสัตว์
3. กระบี่กระบองเป็นที่นิยมแพร่หลายของประชาชนในรัชกาลใดมากที่สุด
ก. รัชกาลที่ 2
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 4
ง. รัชกาลที่ 3
4. การเล่นกระบี่จะช่วยฝึกน้ำใจได้ดีเลิศอย่างไร
ก. ทำให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
ข. ทำให้มีความกล้าหาญ
ค. ทำให้มีความอดทน
ง. ทำให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. วิชากระบี่กระบองได้รับการบรรจุไว้ในหลักสูตรการเรียนในระดับใดเป็นครั้งแรก
ก. มัธยมศึกษาปีที่ 2
ข. อาชีวศึกษา
ค. ระดับประถมศึกษา
ง. ประโยคครูผู้สอนพลศึกษา
6. ข้อใด ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมหรือฝึกซ้อมกระบี่ในสมัยโบราณ
ก. ทำการรบได้ทุกโอกาส
ข. มีน้ำใจกล้าหาญเด็ดเดี่ยว
ค. ป้องกันอันตราย
ง. บำรุงร่างกายให้แข็งแกร่ง
7. การเล่นกระบี่กระบองแบบจำลองในสมัยโบราณมีวัตถุประสงค์อย่างไร
ก. เพื่อหาผู้ที่มีความสามารถ
ข. เพื่อเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ
ค. เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ง. เพื่อฝึกซ้อมและเตรียมตัวในยามสงบ
8. การเล่นกระบี่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติอย่างไร
ก. ช่วยสืบทอดมรดกอันสำคัญประจำชาติ
ข. ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
ค. ช่วยอนุรักษ์ศิลปะประจำชาติ
ง. ช่วยรักษาวัฒนธรรมอันดี
9. การเรียนกระบี่สามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
ก. ทำให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
ข. ทำให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
ค. การต่อสู้ในสงคราม
ง. ทำให้สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี
10. รัชกาลที่ 4 ได้โปรดให้มีการเล่นกระบี่กระบองในงานสมโภชใดเป็นครั้งแรก
ก. ทอดกฐิน
ข. งานโกนจุก
ค. งานบวชนาค
ง. ทอดผ้าป่า
ขอบคุณที่มาบทความ
http://www.wt.ac.th/~phonthong/kabee08.html
การถวายบังคม | |||||
เป็นการเคารพครูบาอาจารย์กระบี่กระบอง ซึ่งถือว่าเป็นวัฒนธรรมประเพณีมีความสำคัญเป็นพิเศษ เพราะถือว่า การเคารพครูเป็นสิริมงคล และทำให้ปลอดภัยจากการเล่น | |||||
หรือการแสดงในครั้งนั้น ๆ ด้วย | |||||
ท่าถวายบังคม (สำหรับพรหมนั่ง) |
|||||
![]() 1 2 3 |
|
||||
![]() 4 5 6 |
|
||||
|
![]() 7 8 9 |
การขึ้นพรหม | |||||
การขึ้นพรหม เป็นขนบธรรมเนียมอีอย่างหนึ่งของกระบี่กระบอง เพื่อให้มีคุณธรรมประจำใจคือ พรหมวิหารสี่ อันเป็นคุณธรรมอันประเสริฐ เป็นธรรมะที่ขจัดความพาล | |||||
ไม่นำเอาวิชากระบี่กระบองไปใช้ในทางที่ผิด เป็นผู้ที่เปี่ยมด้วย เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ด้วยเหตุที่พรหมมี 4 หน้า หน้าหนึ่ง ๆ หมายถึงคุณธรรมอย่างหนึ่ง ดังนั้น | |||||
การขึ้นพรหมต้องรำให้ครบ 4 ทิศ และในการขึ้นพรหมของกระบี่กระบองนั้นมี 2 อย่างคือ | |||||
1. การขึ้นพรหมนั่ง 2. การขึ้นพรหมยืน |
การขึ้นพรหมนั่ง | |||||
![]() 1 2 3 |
|
||||
|
![]() 4 5 6 |
||||
![]() 7 8 9 |
|
||||
|
![]() 10 11 12 |
||||
![]() 13 14 15 |
|
||||
|
![]() 16 17 18 |
||||
![]() 19 20 21 |
|
การขึ้นพรหมยืน | |||||
ในท่าถวายบังคม วางกระบี่ให้ชี้ปลายไปข้างหน้า ห่างจากเข่า 1 คืบ | |||||
![]() 1 2 3 |
|
||||
|
![]() 4 5 6 7 |
||||
![]() 8 9 10 11 |
|
||||
|
![]() 12 13 14 15 |
||||
![]() |
|
||||
|
![]() 21 22 23 24 |
||||
![]() 25 26 |
|
ไม้รำที่ 1 ลอยชาย (เดินสลับฟันปลา) | |||||
|
|||||
|
![]() |
||||
![]() |
|
||||
|
![]() |
||||
![]() |
|
ไม้รำที่ 2 ควงทัดหู ( เดินสลับฟันปลา ) |
|||||
|
![]() |
||||
![]() |
|
||||
|
![]() |
ไม้รำที่ 3 เหน็บข้าง ( เดินตรง ) | |||||
ท่าคุมรำ |
|||||
|
![]() |
||||
2
![]() |
|
||||
|
4
![]() |
||||
7![]() |
|
||||
|
9
![]() |
ไม้รำที่ 4 ตั้งศอก ( เดินสลับฟันปลา ) | |||||
|
![]() 1 2 |
||||
![]() 3 4 |
|
||||
|
![]() 5 6 |
||||
![]() 7 8 |
|
ไม้รำที่ 5 จ้วงหน้าจ้วงหลัง ( เดินตรง ) |
|||||
|
![]() 1 2 |
||||
![]() 3 4 |
|
||||
|
![]() 5 6 7 |
||||
![]() 8 9 |
|
||||
|
![]() 10 11 12 |
||||
![]() 13 14 15 |
|
||||
|
![]() 16 |
ไม้รำที่ 6 ปกหน้าปกหลัง หรือควงป้องหน้า ( เดินตรง ) | |||||
|
![]() 1 2 |
||||
![]() 3 4 |
|
||||
|
![]() 5 6 |
||||
![]() 7 8 |
|
||||
![]() 9 10 11 |
|
ขอบคุณที่มาบทความ
http://www.wt.ac.th/~phonthong/kabee08.html
ไม้ตีที่ 1 | |||||
ท่าคุมตีลูกไม้ |
|||||
|
![]() |
||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 |
|||||
ฝ่ายรับ![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 |
|||||
|
ฝ่ายรับ
![]() |
ไม้ตีที่ 2 | |||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 | |||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 3 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 4 |
|||||
|
![]() |
ไม้ตีที่ 3 | |||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 3 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 4 |
|||||
|
![]() |
ไม้ตีที่ 4 | |||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 | |||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 3 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 4 |
|||||
|
![]() |
ไม้ตีที่ 5 | |||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 3 | |||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 4 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 5 |
|||||
![]() |
|
ไม้ตีที่ 6 | |||||
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 2 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 3 | |||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 4 |
|||||
|
![]() |
||||
จังหวะที่ 5 |
|||||
![]() |
|
||||
จังหวะที่ 6 |
|||||
|
![]() |
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
|
|||||
![]() |
|||||
รายการที่ 1 วิ่ง 50 เมตร | |||||
เมื่อให้สัญญาณเข้าที่ ให้นักเรียนยืนให้ปลายเท้าข้างหนึ่งอยู่ชิดเส้นเริ่ม เมื่อได้ยินสัญญาณ ปล่อยตัว ให้วิ่งด้วยความเร็วเต็มที่จนผ่านเส้นชัย | |||||
![]() |
|||||
รายการที่ 2 วิ่งเก็บของ | |||||
วางไม้ทั้งสองท่อนกลางวงกลมที่อยู่ตรงข้ามกับเส้นเริ่ม นักเรียนยืนให้ปลายเท้าข้างหนึ่งอยู่ชิดเส้นเริ่ม เมื่อได้รับคำสั่งว่า ไป ให้นักเรียนวิ่งไปหยิบท่อนไม้ ท่อนหนึ่ง มาวางที่วงกลมหลังเส้นเริ่ม แล้วกลับตัววิ่งไปหยิบท่อนไม้อีกท่อนหนึ่งมาวางไว้เช่นเดียวกับท่อนแรกแล้ววิ่งเลยไป ห้ามโยนท่อนไม้ หากวางไม่เข้า ในวงกลม ให้เริ่มใหม่ |
|||||
![]() |
|||||
รายการที่ 3 ยืนกระโดดไกล | |||||
นักเรียนยืนที่เส้นเริ่มให้ปลายเท้าทั้งสองอยู่ชิดเส้นเริ่ม เหวี่ยงแขนทั้งสองไปข้างหลังพร้อมกับย่อเข่าและก้มตัว เมื่อได้จังหวะให้เหวี่ยงแขนไปข้างอย่างแรง พร้อมกับ กระโดดด้วยเท้าทั้งสองข้างไปข้างหน้าให้ไกลที่สุด ใช้ไม้วัดทาบตั้งฉากกับขีดบอกระยะ หากมีการเสียหลักหงายหลังหรือมือแตะพื้นให้ทำใหม่ |
|||||
![]() |
|||||
รายการที่ 4 แรงบีบมือ | |||||
นักเรียนใช้มือข้างที่ถนัดจับเครื่องวัดแรงบีบมือโดยให้นิ้วข้อที่ 2 รับน้ำหนักของเครื่องวัด ยืนปล่อยแขนข้างลำตัว ห่างลำตัวเล็กน้อย แขนตึงกำมือบีบเครื่องวัด สุดแรงโดยไม่ให้เครื่องวัดถูกส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ห้ามโถมตัวหรือเหวี่ยงเครื่องมือ |
|||||
![]() |
|||||
รายการที่ 5 ลุกนั่ง | |||||
จัดนักเรียนเป็นคู่ ให้นักเรียนคนแรกนอนหงายบนเบาะยืดหยุ่น เข่างอเป็นมุมฉาก ปลายเท้าแยกห่างกัน ประสานมือที่ท้ายทอย นักเรียนคนที่สองคุกเข่าที่ปลายเท้า คนแรก มือทั้งสองกำและกดข้อเท้านักเรียนคนแรกไว้ให้เท้าติดพื้น เมื่อได้รับสัญญาณเริ่มพร้อมกับจับเวลา นักเรียนลุกขึ้นนั่งให้ข้อศอกแตะเข่าตนเองแล้วกลับลุก ขึ้นนั่งใหม่ ทำเช่นนี้ติดต่อไปอย่างรวดเร็วจนครบ 30 วินาที จากนั้นจึงสลับกันปฏิบัติเช่นเดียวกัน |
|||||
จากนั้นจึงบันทึกข้อมูลทุกรายการไว้เพื่อเปรียบเทียบกับการทดสอบครั้งต่อไป |
|||||
ขอบคุณที่มาบทความ
http://www.wt.ac.th/~phonthong/kabee.html
คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1.การเล่นกระบี่กระบองช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายด้านใดมากที่สุด
ก. ความแข็งแรง
ข. ความเร็ว
ค. กำลัง
ง. ความแคล่วคล่องว่องไว
2. กระบี่เป็นอาวุธที่สำคัญของการใดของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ
ก. ทหาร
ข. ตำรวจ
ค. นักกีฬา
ง. นักล่าสัตว์
- การเล่นกระบี่จะช่วยฝึกน้ำใจได้ดีเลิศอย่างไร
ข. ทำให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
ค. ทำให้มีความกล้าหาญ
ง. ทำให้มีความอดทน
จ. ทำให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
3. ข้อใด ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมหรือฝึกซ้อมกระบี่ในสมัยโบราณ
ก. ทำการรบได้ทุกโอกาส
ข. มีน้ำใจกล้าหาญเด็ดเดี่ยว
ค. ป้องกันอันตราย
ง. บำรุงร่างกายให้แข็งแกร่ง
4. การเล่นกระบี่กระบองแบบจำลองในสมัยโบราณมีวัตถุประสงค์อย่างไร
ก. เพื่อหาผู้ที่มีความสามารถ
ข. เพื่อเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ
ค. เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ง. เพื่อฝึกซ้อมและเตรียมตัวในยามสงบ
5. การเล่นกระบี่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติอย่างไร
ก. ช่วยสืบทอดมรดกอันสำคัญประจำชาติ
ข. ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
ค. ช่วยอนุรักษ์ศิลปะประจำชาติ
ง. ช่วยรักษาวัฒนธรรมอันดี
6. การเรียนกระบี่สามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
ก. ทำให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
ข. ทำให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
ค. การต่อสู้ในสงคราม
ง. ทำให้สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี
7. การท่าคุมรำ มือซ้ายจีบอยู่ระดับส่วนใด
ก. คิ้ว
ข. อก
ค. สะดือ
ง. ไหล่
8. กระบี่กระบองเป็นที่นิยมแพร่หลายของประชาชนในรัชกาลใดมากที่สุด
ก. รัชกาลที่ 2
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 4
ง. รัชกาลที่ 3
9.กระบี่กระบองเป็นที่นิยมแพร่หลายของประชาชนในรัชกาลใดมากที่สุด
ก. รัชกาลที่ 2
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 4
ง. รัชกาลที่ 3
10. การฝึกอบรมหรือฝึกซ้อมกระบี่ในสมัยโบราณเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงดุจอะไร
ก. กระดูกเป็นเหล็ก ใจเป็นทองแดง หนังเป็นเพชร
ข. กระดูกเป็นเพชร ใจเป็นเหล็ก หนังเป็นทองแดง
ค. กระดูกเป็นทองแดง ใจเป็นเพชร หนังเป็นเหล็ก
ง. กระดูกเป็นเหล็ก ใจเป็นเพชร หนังเป็นทองแดง
ช่วยเพิ่มกติกาการเล่นให้หน่อยครับ
ต้องทำข้อสอบผ่านแน่เลยครับ
ขอบคุณนะครับที่ให้ข้อมูลช่วยได้เยอะเลย
ได้ความมากมายค่ะ
พี่ค่ะขอต่ออีกนิดได้ไหมค่ะเอิ่ม!!!ขนาดของสนามกระบี่กระบองมันมีขนาดเท่ารัยอ่ะค่ะ
ได้ความรู้มากมาย
ได้ความรู้มากมาย